อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด
แพทย์ชำนาญการด้านการขยายหัวใจและหลอดเลือด
ลิ้นหัวใจมีหน้าที่ที่สำคัญมากกับร่างกายของทุกคน หากลิ้นหัวใจมีความผิดปกติ อาจส่งผลกระทบต่อระบบไหลเวียนเลือด และนำไปสู่การเสียชีวิตได้ แต่วันนี้เราสามารถเช็ค 8 อาการเสี่ยงโรคลิ้นหัวใจได้ หากรู้ตัวเร็วว่ามีอาการเสี่ยง เราก็จะได้รักษาได้เร็วมากขึ้น อ่านต่อ…
มิติใหม่แห่งการผ่าตัดซ่อมและเปลี่ยนลิ้นหัวใจด้วยเทคนิคส่องกล้อง แผลเล็กลงเหลือเพียง 4-5 เซนติเมตร ฟื้นตัวเร็ว ลดการนอนโรงพยาบาล และกลับไปใช้ชีวิตได้ตามปกติใน 1 เดือน หัวใจมีหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย โดยมีลิ้นหัวใจทั้งหมด 4 ลิ้น
อ่านต่อ…
เปลี่ยนลิ้นหัวใจไม่ต้องผ่าตัดด้วยนวัตกรรม TAVI
ลดความเจ็บปวดและไร้แผลผ่าตัด ช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นตัวไวและกลับไปใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงปกติเร็วขึ้น
อ่านต่อ…
“เมื่อก่อนจะรู้สึกเหนื่อยง่าย ทำอะไรไม่ค่อยได้ จึงตัดสินใจมาหาหมอพบว่าเป็นโรคลิ้นหัวใจรั่ว แต่ตอนนั้นไม่อยากรักษาด้วยการผ่าตัดแบบเปิดอก จึงหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตว่ามีโรงพยาบาลไหนที่สามารถผ่าตัดส่องกล้อง
คุณพ่อเป็นคนชอบปั่นจักรยานช่วงเช้าย้อนกลับไปเมื่อ 2-3 ปีที่แล้ว ช่วงที่คุณพ่อปั่นจักรยาน ก็เริ่มมีอาการเหนื่อย หายใจไม่ทัน
จากปกติที่เดินขึ้นบ้านไปชั้นสองได้สบาย ๆ ก็เริ่มเหนื่อย จนคุณพ่อไม่ค่อยมีความสุขก็เลยปรึกษาคุณหมอแล้วตรวจร่างกาย ถึงได้ทราบว่าคุณพ่อมีปัญหาลิ้นหัวใจเริ่มปิดไม่สนิทตอนแรกก็ให้คุณพ่อทานยายื้ออาการมาตลอด คุณหมอก็ได้เสนอว่ามีนวัตกรรมใหม่ที่ชื่อ TAVIเป็นการรักษาแบบใหม่ หลังจากที่ได้คุยกับคุณหมอทางครอบครัวก็มีความมั่นใจในตัวนวัตกรรม TAVIเพราะอัตราความเสี่ยงต่ำ ไม่ว่าจะเป็นการเสียชีวิต หรือ ระยะเวลาในการรักษาก็เลยตัดสินใจให้คุณพ่อเข้ารับการผ่าตัดด้วยวิธี TAVIหลังจากการผ่าตัดคุณพ่อก็รู้สึกดีขึ้นและไม่เหนื่อยแบบเมื่อก่อนแล้ว คุณหมอและพยาบาลดูแลดีมาก ๆ การรักษาด้วยวิธี TAVI ใช้ระยะเวลาสั้น และรวดเร็วมาก ๆ
อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด
แพทย์ชำนาญการด้านขยายหัวใจและหลอดเลือด
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพ ฉีกขาดหรือรั่วสามารถผ่าตัดซ่อมลิ้นหัวใจให้กลับมาใช้งานได้ตามปกติ โดยไม่ต้องเปลี่ยนเป็นลิ้นหัวใจเทียม ซึ่งยังคงรักษาโครงสร้างเดิมของลิ้นหัวใจที่มีผลต่อการทำงานของหัวใจ จึงไม่จำเป็นต้องรักษายาละลายลิ่มเลือดไปตลอดชีวิต ลดความเสี่ยงการเกิดลิ่มเลือดอุดตันและภาวะเลือดออกง่ายผิดปกติจากการรับประทานยา อ่านต่อ…
การผ่าตัดโรคลิ้นหัวใจ ช่วยให้อาการ หอบ เหนื่อย ไม่มีแรง ของผู้ป่วยลดลง แต่การผ่าตัด ‘ซ่อมลิ้นหัวใจ’ หรือ ‘เปลี่ยนลิ้นหัวใจ’ แบบไหนดีกว่ากัน อ่านต่อ…
คนที่อายุ 40 ปีขึ้นไป มักจะมีอาการลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย อาจเกิดจากความยืดหยุ่นของเนื้อเยื่อที่เสื่อมสภาพ และอาจส่งผลทำให้การทำงานของหัวใจลดลง หรือ ทำให้หัวใจทำงานหนักขึ้น และอาจมีอาการอื่น ๆ ตามมา หากเรารู้ทันอาการเสี่ยง เราก็จะรักษาได้ทัน อ่านต่อ…
เหนื่อยง่ายเป็นประจำไม่ใช่แค่เพราะอ้วนหรืออายุมากขึ้น แต่อาจเกิดจาก “โรคลิ้นหัวใจ” หมั่นเช็กหัวใจอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง เพราะโรคลิ้นหัวใจป้องกันยากแต่รักษาได้ ลิ้นหัวใจมีทั้งหมด 4 ลิ้น ประกอบด้วย Tricuspid valve, Pulmonary valve, Mitral valve และ Aortic valve ทําหน้าที่กั้นระหว่างห้องหัวใจทั้ง 4 ห้อง อ่านต่อ…
ลิ้นหัวใจเป็นเนื้อเยื่อที่กั้นระหว่างห้องหัวใจเพื่อให้เลือดไหลเวียนไปในทิศทางที่ถูกต้อง แต่ถ้าลิ้นหัวใจมีปัญหา ไม่ว่าจะเป็นลิ้นหัวใจตีบ ตัน รั่ว เสื่อมสภาพ มีไขมันหรือหินปูนเกาะ จนลิ้นหัวใจเปิดหรือปิดไม่สนิท ส่งผลให้เลือดไหลเวียนได้ไม่ดี อ่านต่อ…
มิติใหม่แห่งการผ่าตัดซ่อมและเปลี่ยนลิ้นหัวใจด้วยเทคนิคส่องกล้อง แผลเล็กลงเหลือเพียง 4-5 เซนติเมตร ฟื้นตัวเร็ว ลดการนอนโรงพยาบาล และกลับไปใช้ชีวิตได้ตามปกติใน 1 เดือน หัวใจมีหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย โดยมีลิ้นหัวใจทั้งหมด 4 ลิ้น อ่านต่อ…
โรคลิ้นหัวใจผิดปกติจากความเสื่อม (Degenerative Valve Disease) มักพบในผู้สูงอายุ ซึ่งเกิดจากการเสื่อมสภาพของเนื้อเยื่อลิ้นหัวใจ โรคลิ้นหัวใจรูมาติก (Rheumatic Heart Disease) เกิดจากการติดเชื้อสเตรปโตคอคคัส กรุ๊ป เอ ทําให้เกิดไข้รูมาติก อ่านต่อ…
ผู้ป่วยที่มีปัญหาลิ้นหัวใจตีบหรือรั่ว ไม่จำเป็นต้องผ่าตัดแบบเปิดที่มีบาดแผลขนาดใหญ่และต้องพักฟื้นเป็นเวลานานอีกต่อไป เพราะปัจจุบันมีทางเลือกใหม่ด้วยการ ผ่าตัดแบบส่องกล้อง (Minimally Invasive Surgery, MIS) อ่านต่อ…
ภายในหัวใจของคนเรานั้น มีลิ้นหัวใจ 4 ลิ้น ทำหน้าที่ควบคุมให้เลือดไหลเวียนไปในทิศทางที่เหมาะสม และป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ ช่วยให้หัวใจทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ แต่เมื่อลิ้นหัวใจเกิดความผิดปกติ อ่านต่อ…
กรุณาใส่รายละเอียดทางการแพทย์ และประวัติทางการแพทย์ของท่านให้ครบถ้วนที่สุด ซึ่งจะช่วยให้แพทย์ของเราให้คำปรึกษาได้อย่างแม่นยำและถูกต้องมากขึ้น
Hotline 02 734 0000