บทความสุขภาพ Archives - Page 108 of 145 - โรงพยาบาลเวชธานี

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

เคล็ดไม่ลับถนอมตับ ก่อนโรคร้ายมาเยือน
เคล็ดไม่ลับถนอมตับ ตับ เป็นอวัยวะสำคัญ และใหญ่ที่สุดของร่างกายที่มีเพียงหนึ่งเดียว มีหน้าที่แปรสภาพสารต่างๆ รวมถึงยาที่เรารับประทานเพื่อรักษา

ศูนย์หัวใจ

กินเป็น = ชนะโรค
เมื่อเกิดการสะสมของไขมันในหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจตีบตัน เป็นต้นเหตุของภาวะหัวใจวาย ซึ่งเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต โดยการสะสมของไขมันเหล่านี้

ดื่มน้ำเท่าไหร่? ไม่ทำร้ายสุขภาพ
ดื่มน้ำเท่าไหร่? ไม่ทำร้ายสุขภาพ "น้ำ" เป็นองค์ประกอบของร่างกายร้อยละ 60-70 จึงมีความจำเป็นต่อร่างกายอย่างมาก หากร่างกายขาดน้ำไม่กี่

ศูนย์อายุรกรรม

เคยไหม? ปวดข้อมือนาน ๆ อาจเกิดจาก “ โรค รูมาตอยด์ ”
โรคข้ออักเสบ รูมาตอยด์ เป็นโรคที่พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย สามารถพบได้ตั้งแต่ช่วงวัยรุ่นจนถึงสูงอายุ โดยมีปัจจัยหลายอย่างที่เกี่ยวข้องและทำให้เกิดโรค

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

7 อาหาร ปรับพฤติกรรมห่างไกลริดสีดวงทวารหนัก
7 อาหาร ริดสีดวงทวารหนัก เป็นโรคที่พบได้บ่อยและเกิดได้จากหลายปัจจัย โดยเฉพาะพฤติกรรมทำร้ายสุขภาพ เช่น ขับถ่ายไม่เป็นเวลา รวมถึงการรับประทานอาหารไม่ครบหลักโภชนาการที่ดี ขาดไฟเบอร์จนก่อให้เกิดอาการท้องผูก ฉะนั้นแล้ว ลองมาดูเมนูอาหารที่เหมาะสม เพื่อให้ห่างไกลจากโรค “ริดสีดวงทวารหนัก”

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

สังเกต “3 สัญญาณ” โรคกรดไหลย้อน
โรคกรดไหลย้อน เป็นภาวะที่น้ำย่อยจากกระเพาะอาหาร ไหลย้อนกลับขึ้นไปในหลอดอาหาร ทำให้เกิดอาการแสบร้อนบริเวณหน้าอกหรืออาการขย้อน และยังเป็นสาเหตุทำให้มีกลิ่นปาก

ศูนย์สมองและระบบประสาท

อาการ “ มือเท้าชา ” อย่านิ่งนอนใจ อาจเป็นสัญญาณเตือนโรคปลายประสาทอักเสบ
อาการชาที่มือ แขน และเท้าอาจเป็นจุดเริ่มต้นของสัญญาณอันตราย พบได้มากในคนวัยทำงานออฟฟิศซึ่งอาจเป็นที่มาของโรคที่เกี่ยวกับปลายประสาทอักเสบหรือเส้นประสาท

ศูนย์มะเร็ง

ผ่าตัด ใช้ยารักษามะเร็ง หรือฉายรังสี วิธีไหนมีประสิทธิภาพในการรักษามะเร็ง
มะเร็ง กับ การรักษา นับเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญทั่วโลก เนื่องจากมีผู้ป่วยจำนวนมาก และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี ทำให้ผู้คนตระหนักถึงความรุนแรงของโรค

ศูนย์สมองและระบบประสาท

อาการชาที่เกิดกับร่างกายบ่งบอกโรคอะไรได้บ้าง
อาการชา ชาเฉพาะนิ้วโป้ง นิ้วชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนางครึ่งซีก (ซีกที่อยู่ติดกับนิ้วกลาง) นอกนั้นไม่มีอาการชา อาจเป็นสัญญาณของโรคเส้นประสาทมือถูกบีบรัด เนื่องจากเยื่อหุ้มเอ็นที่อยู่ในช่องใต้กระดูกมือบวม หรือกระดูกมือโตทำให้ช่องใต้กระดูกมือแคบ เลือดไหลเวียนไม่สะดวก หรืออาจเกิดจากแผ่นพังผืดเสื่อม และหนาตัวขึ้น
9721298