บทความสุขภาพ Archives - Page 20 of 145 - โรงพยาบาลเวชธานี

บทความสุขภาพ

Result 172 - of

ศูนย์อายุรกรรม

สังเกต 8 อาการโควิด-19 ยุคโอมิครอนกลายพันธุ์
ในปัจจุบันโรคโควิด-19 ได้ลดความรุนแรงลงจากการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัส ส่งผลให้อาการที่เกิดขึ้นหลังได้รับเชื้อแตกต่างจากช่วงก่อนหน้านี้ โดยอาการโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอน สามารถสังเกตได้จาก

ศูนย์กระดูกสันหลัง

ใช้ชีวิตอย่างไร…ไม่ทำร้ายกระดูกสันหลัง
พฤติกรรมการใช้ชีวิตในแต่ละวัน ทั้งการนั่ง การนอนหรือยกของหนักในท่าที่ไม่ถูกต้อง ล้วนเป็นการทำร้ายกระดูกสันหลัง แต่ถ้ารู้จักดูแลและปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง จะช่วยลดปัญหาเกี่ยวกับกระดูกสันหลังได้ในอนาคต

ศูนย์สุขภาพสตรี

บริหารอุ้งเชิงกราน แก้ปัญหาปัสสาวะเล็ด
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ เป็นเรื่องปกติในผู้หญิงทุกวัย โดยเฉพาะผู้หญิงที่อายุมากกว่า 45 ปี นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ทำให้เกิดภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ได้อีก เช่น การคลอดบุตร โรคอ้วน หรือความผิดปกติของอุ้งเชิงกรานบางประเภท โดยภาวะนี้เกิดจากความอ่อนแอในอุ้งเชิงกราน ทำให้ท่อปัสสาวะปิดไม่เต็มที่เมื่อมีแรงกดทับที่กระเพาะปัสสาวะ และส่งผลให้ปัสสาวะเล็ดออกมาในระหว่างทำกิจกรรม เช่น ไอ จาม หัวเราะ เดินหรือออกกำลังกาย

ศูนย์กระดูกและข้อ

ทำไมถึงกระดูกงอกที่เท้าได้
ลองสังเกตส้นเท้าของคุณ ว่ามีกระดูกปูด นูน งอก หรือมีอาการเจ็บที่ส้นเท้าหรือไม่ หากใครมีอาการก็อาจเกิดจาก กระดูกงอก ก็เป็นได้

ศูนย์กระดูกและข้อ

อาการเจ็บข้อเท้าและเท้าแบนลง อาจเพราะโรคเท้าแบน
โรคเท้าแบน หรือ Flat Feet เป็นภาวะที่ผิดปกติบริเวณอุ้งเท้าที่ตรงกลางของเท้าสูญเสียความสูงไป หรือ เรียกว่าแบนติดพื้น เราจะเห็นได้ชัดเมื่อเราเดินลงน้ำหนัก โรคเท้าแบนจะส่งผลให้เกิดความรู้สึกเจ็บปวดและนำไปสู่ความผิดรูปของเท้าและนิ้วเท้าตามมาได้

ศูนย์หัวใจ

COVID-19 ไวรัสที่นำไปสู่โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ
จากการรายงานข้อมูลทั่วโลกพบว่าอัตราการเกิดลองโควิดมีประมาณร้อยละ 40 – 60 ซึ่งอาจเกิดจากภูมิคุ้มกันลดลงจากภาวะการอักเสบของร่างกายในขณะติดเชื้อโควิด – 19 การแยกรักษาตัวอยู่บ้านหรือนอนโรงพยาบาลเป็นเวลานาน

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

ยิ่งอายุมาก ยิ่งเป็นริดสีดวง
ริดสีดวงทวารหนัก โรคที่สามารถพบได้ทั่วไปในยุคปัจจุบัน เนื่องด้วยวิถีชีวิตที่เร่งรีบ ไม่เอื้ออำนวยต่อการเข้าห้องน้ำ หรือการติดโทรศัพท์ ติดโซเชี่ยล เล่นมือถือ เข้าไปในห้องน้ำ ทำให้ยืดระยะเวลาการนั่งถ่าย

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

ทำไมต้องใส่บอลลูนกับ VEJTHANI
ใส่บอลลูนในกระเพาะอาหารด้วยการส่องกล้อง ปลอดภัย ไม่ต้องผ่าตัด ในขณะที่ใส่บอลลูนจะอยู่ในความดูแลของแพทย์ตลอดการใส่

ศูนย์กระดูกสันหลัง

เช็ก 4 อาการบอกโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
หากมีอาการเหล่านี้ควรรีบพบแพทย์เฉพาะทาง ถ้าอาการยังไม่รุนแรงแพทย์อาจพิจารณารักษาด้วยการใช้ยาแก้ปวด กายภาพบำบัด และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต แต่ถ้าอาการยังไม่ดีขึ้นภายใน 4 – 6 สัปดาห์ หรือโรคอยู่ในระยะที่รุนแรงแล้วอาจต้องใช้วิธีผ่าตัด
1801299