บทความสุขภาพ Archives - Page 24 of 145 - โรงพยาบาลเวชธานี

ศูนย์สุขภาพสตรี

อาการแบบไหน ควรตรวจอัลตราซาวนด์
บ่อยครั้งเลยที่คนไข้ทางนรีเวช แล้วจำเป็นต้องได้รับการตรวจอัลตราซาวนด์เพิ่มเติม โดยการอัลตราซาวนด์ทางนรีเวชนั้น ทำได้ 2 ทาง คือทางหน้าท้อง หรือทางช่องคลอด

ศูนย์กระดูกสันหลัง

นั่งทำงานผิดท่า เสี่ยงหมอนรองกระดูกเคลื่อน
โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อน (Lumbar Disc Herniation) เป็นโรคที่พบบ่อยในคนที่หมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม เพราะเมื่ออายุมากขึ้นหมอนรองกระดูกซึ่งเป็นหนึ่งในข้อต่อของกระดูกสันหลังจะเริ่มเสื่อมตามอายุ

ศูนย์อายุรกรรม

โรคซึมเศร้าหลังคลอด
คุณแม่หลังคลอด มักเกิดการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกาย ที่อาจส่งผลต่อสภาวะอารมณ์และสภาพจิตใจ โดยมีอาการแสดง เช่น หงุดหงิดง่าย อารมณ์เศร้า เสียใจ อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ร่างกายอ่อนเพลีย นอนไม่หลับ มีความกังวลเรื่องลูก โดยส่วนมากอาการแสดงมักเกิดขึ้นหลังจากคลอดนานติดต่อกันประมาณ 5 วัน ขึ้นอยู่กับคุณแม่แต่ละราย

ศูนย์สุขภาพสตรี

เลเซอร์ช่องคลอด แก้ปัญหาปัสสาวะเล็ด
ปัญหาปัสสาวะเล็ดเป็นปัญหาใหญ่ของผู้หญิงและส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก ปัญหาปัสสาวะเล็ดมักเกิดจากการเสื่อมตามวัย ภาวะวัยทอง หรือสาเหตุอื่น เช่น น้ำหนักตัวเยอะ

ศูนย์กระดูกและข้อ

5 วิธีเช็กเท้าแบนโดยแพทย์เฉพาะทาง
การเช็กว่าตัวเองเท้าแบนไหม เบื้องต้นผู้ป่วยสามารถเช็กได้ง่าย ๆ ด้วยตัวเอง โดยการยืนลงน้ำหนักแล้วเทียบความสูงอุ้งเท้าด้านใน ระหว่างตอนยืนกับตอนนั่ง หากไม่ปรากฏส่วนโค้งเว้าขณะยืน แสดงว่ามีแนวโน้มเกิดภาวะเท้าแบน

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

ออกกำลังกายหนัก เสี่ยงเป็นริดสีดวง!
อาการนี้ หนุ่ม ๆ สาว ๆ ที่รักสุขภาพ และต้องการมีรูปร่างที่ฟิตแอนด์เฟิร์ม คงไม่อยากให้เกิดกับตัวเองอย่างแน่นอน แต่ก็อย่าเพิ่งตกใจ

ศูนย์ตรวจสุขภาพ

เตรียมตัวก่อนตรวจสุขภาพ เพื่อผลที่แม่นยำ
ก่อนเข้ารับการตรวจสุขภาพที่โรงพยาบาลควรเตรียมตัวและเตรียมร่างกายให้พร้อม เพื่อความแม่นยำ และลดโอกาสที่ผลตรวจจะคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง

ศูนย์สุขภาพสตรี

เชื้อราในช่องคลอด เป็นแล้วเป็นอีกทำยังไงดี
โรคที่มักจะมากับความชื้นที่เรารู้จักกันดี นั่นก็คือ “โรคเชื้อราในช่องคลอด” นั่นเอง ใครเคยเป็นโรคนี้จะเข้าใจ ถึงแม้จะเป็นโรคที่ไม่ได้อันตรายอะไรมากมาย แต่สร้างความลำบาก เพราะมันจะทำให้เกิดอาการคันในบริเวณนั้นมาก

ศูนย์สมองและระบบประสาท

ลดอาการสั่นจากโรคพาร์กินสัน ด้วยการฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าในสมอง
เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าในสมอง ทางเลือกสำหรับผู้ป่วยโรคพาร์กินสันที่ไม่ตอบสนองต่อยาหรือมีอาการรุนแรง ช่วยลดอาการสั่นและเคลื่อนไหวช้า และยังสามารถลดการรับประทานยาถึงร้อยละ 50
2161299