บทความสุขภาพ Archives - Page 30 of 145 - โรงพยาบาลเวชธานี

ศูนย์ศัลยกรรมลำไส้ใหญ่และทวารหนัก

ฝีคัณฑสูตรเกิดได้ยังไง
สาเหตุที่เกิดฝีคัณฑสูตร เกิดจากการติดเชื้อของต่อมชนิดหนึ่งที่อยู่ลึกเข้าไปในรูทวารประมาณ 1 cm ตามปกติต่อมนี้จะมีหน้าที่ในการผลิตเมือกสร้างสารหล่อลื่น เพื่อช่วยให้การขับถ่ายง่ายขึ้น แต่เมื่อต่อมนี้เกิดการอักเสบและติดเชื้อ

ศูนย์ข้อสะโพกและข้อเข่า

มีเสียงกึกกักที่ข้อสะโพกระวัง สะโพกเสื่อม
ข้อสะโพกเสื่อมหรือ (osteoarthritis of hip) เกิดขึ้นจากภาวะการสึกกร่อนของกระดูกอ่อนของส่วนของเบ้าและหัวของข้อสะโพก ทำให้กระดูกมีการเสียดสีกันโดยตรง จนทำให้เกิดอาการปวดและมีการเคลื่อนไหวติดขัด

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

สะกิดนิ้วล็อกไปแล้ว จะกลับมาเป็นซ้ำไหม
คำยอดฮิตที่คนไข้หลายคนกังวล จากประสบการณ์ของแพทย์ที่ได้สะกิดนิ้วล็อกไปแล้วมากกว่า 1,000 นิ้ว "ไม่มีผู้ป่วยกลับมานิ้วเดิมซ้ำ"

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

4 STEP ใส่บอลลูนกระเพาะอาหาร
โรคอ้วน ถือว่าปัจจัยเสี่ยงต่อโรคต่าง ๆ โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และอีกมากมาย ส่งผลให้ในแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตว่า 2.8 ล้านคน ซึ่งคนอ้วนจำเป็นจะต้องลดน้ำหนักลงเพื่อไม่ให้เกิดโรคภัยกับตัวเอง

ศูนย์กระดูกและข้อ

กระดูกเท้างอก ไม่ต้องทนเจ็บ รักษาได้
ใครที่มีอาการเจ็บหลังวิ่ง หรือจากเล่นเกีฬา อาจมีสาเหตุมาจากเอ็นร้อยหวายอักเสบ และถ้าปล่อยให้เอ็นร้อยหวายอักเสบจะเกิดปูนเกาะที่กระดูกเท้า หรือที่เรียกกระดูกงอกจากเอ็นร้อยหวายอักเสบ

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

ส่องกล้องทางเดินอาหาร ตรวจง่าย วินิจฉัยแม่นยำ
ความผิดปกติภายในทางเดินอาหารและลำไส้ มักจะเริ่มแสดงอาการต่อเมื่อมีความรุนแรงมาก เพราะฉะนั้นการส่องกล้องทางเดินอาหารและลำไส้ จะช่วยให้เราตรวจเจอโรคตั้งแต่เนิ่น ๆ โดยเฉพาะโรคร้ายแรง ก็จะช่วยให้การรักษาทำได้ไม่ซับซ้อน

ศูนย์สุขภาพสตรี

พังผืดในอุ้งเชิงกรานสาเหตุของอาการปวดท้องเรื้อรัง
สาเหตุหนึ่งของอาการปวดประจำเดือน หรือปวดท้องน้อยเรื้อรังที่ไม่ได้เกี่ยวกับประจำเดือน ก็คือการมีพังผืดในอุ้งเชิงกรานนี่แหละ วันนี้เรามารู้จักภาวะนี้กัน

ศูนย์ข้อสะโพกและข้อเข่า

สะโพกเสื่อมอายุน้อยก็เป็นได้
หลายคนคิดว่าสะโพกเสื่อมมักเกิดกับผู้สูงอายุ แต้แท้จริงแล้ว คนอายุน้อยที่ยังไม่ถึงเลข 6 ก็สะโพกเสื่อมได้เช่นกัน สำหรับกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงกระดูกสะโพกหักง่าย คือ

ศูนย์หัวใจ

รู้ทันหัวใจเต้นผิดจังหวะ ด้วยคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิดพกพา 24 hr
การตรวจวินิจฉัยโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะแพทย์จะเริ่มจากการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram : EKG) ตรวจด้วยคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิดพกพา 24 ชั่วโมง (24 hour Holter Monitoring)
2701299