บทความสุขภาพ Archives - Page 38 of 145 - โรงพยาบาลเวชธานี

บทความสุขภาพ

Result 334 - of

ศูนย์ศัลยกรรมลำไส้ใหญ่และทวารหนัก

ริดสีดวง VS ฝีคัณฑสูตร
โรคทางทวารหนัก เป็นโรคใกล้ตัวที่มักกระทบคุณภาพชีวิต และการใช้ชีวิตประจำวัน โดยโรคที่มักพบบ่อย คือโรคริดสีดวงทวาร และฝีคัณฑสูตร

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

ริดสีดวงระดับไหน ต้องพบแพทย์
หลายคนก็คงรู้จักโรคริดสีดวงกันมาแล้ว แต่บางคนก็อาจจะยังหลีกเลี่ยงที่จะมาพบแพทย์ เพราะอาจจะยังสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้โดยไม่ได้มีผลกระทบใดๆ แต่หมออยากบอกว่า โรคริดสีดวงทวาร หากพบเร็ว ในระยะแรกๆ สามารถรักษาให้หายได้

ศูนย์ข้อสะโพกและข้อเข่า

อายุน้อยกว่า 35 ปี ก็เสี่ยงเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมได้ หากมีภาวะข้อสะโพกขาดเลือด
กระดูกข้อสะโพกขาดเลือด (Osteonecrosis of Hip) พบได้ในผู้ป่วยอายุ 30-50 ปี โดยมีโอกาสพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

หยุดทรมานจากอาการกลืนลำบาก
การได้รับประทานอาหารรสชาติอร่อย ถือว่าเป็นความสุขของหลาย ๆ คน แต่หากมีอาการกลืนลำบากหลังรับประทาน ก็คงเกิดความทุกข์ทรมานไม่น้อย ซึ่งนี่อาจเป็นสัญญาณเตือนของภาวะหลอดอาหารตีบ หากได้รับการรักษาอย่างตรงจุด ก็จะทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้นได้

ศูนย์เต้านม

อัตราการรอดชีวิตใน 5 ปี ของโรคมะเร็งเต้านม
โรคมะเร็งเต้านม เป็นโรคมะเร็งอันดับ 1 ที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตของผู้หญิงทั่วโลก อัตราการรอดชีวิตนั้นลดลง เมื่อพบที่ระยะท้ายๆ

ศูนย์กระดูกและข้อ

ปวดบวม ลงน้ำหนักไม่ได้ อย่าปล่อยไว้เพราะคิดว่า…แค่ข้อเท้าแพลง
สะดุดยอดหญ้า คำยอดฮิตที่หลายคนมักแซวกันเมื่อสะดุดหรือหกล้ม แต่ที่จริงแล้วไม่ใช่เรื่องตลกเลยเพราะถ้าข้อเท้าแพลงอาจทำให้เกิดอาการปวดบวมรุนแรง จนเคลื่อนไหวลำบากได้เลยทีเดียว

ศูนย์มะเร็ง

4 เรื่องที่หลายคนมักเข้าใจผิดเกี่ยวกับ “มะเร็งปอด”
มะเร็งปอด ถือเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับต้นๆ ทั้งในเพศหญิงและชาย และ เนื่องด้วยเดือนพฤศจิกายนเป็นเดือนมะเร็งปอด วันนี้จึงได้รวบรวมนำ 4 เรื่อง ที่หลายคนมักเข้าใจผิดเกี่ยวกับมะเร็งปอด ความเชื่อที่ว่า มีแค่คนที่สูบบุหรี่เท่านั้นแหละ

ศูนย์กระดูกและข้อ

เอ็นร้อยหวายขาด รักษานานแค่ไหน
เอ็นร้อยหวาย เป็นเอ็นที่ใหญ่ที่สุดและใช้งานหนักที่สุดในร่างกาย เมื่อมีอุบัติเหตุเกิดขึ้น จนเอ็นร้อยหวายตึงตัวเกินไป ทำให้เกิดเอ็นร้อยหวายขาดได้

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ฟื้นฟูการกลืนด้วยเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า เพิ่มภาวะโภชนาการให้ผู้ป่วย
โรคหลอดเลือดสมอง (Cerebrovascular disease) เป็นโรคที่มีอัตราการเสียชีวิตสูงเป็นอันดับต้น ๆ พบมากในกลุ่มอายุ 65 ปีขึ้นไปทั้งเพศชายและหญิง โดยเกิดจากความเสื่อมของหลอดเลือด ซึ่งเป็นผลจากโรคประจำตัวบางชนิด เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ในผู้ป่วยที่รอดชีวิตก็ยังได้รับผลกระทบจากภาวะแทรกซ้อน ไม่ว่าจะเป็นระดับความรู้สึกตัวลดลง ความจำถดถอย ภาวะซึมเศร้า ตลอดจนกำลังกล้ามเนื้อหายไปจนส่งผลกระทบต่อการช่วยเหลือตัวเองในการทำกิจวัตรประจำวัน โดยเฉพาะการกลืนที่ที่ผิดปกติซึ่งอาจส่งผลกระทบให้ผู้ป่วยสำลักและมีภาวะโภชนาการที่บกพร่องได้หลังจากรักษาภาวะหลอดเลือดสมองแล้ว ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูเพื่อให้ร่างกายกลับมาทำงานได้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด โดยปัญหาเรื่องการกลืนนั้น ได้แก่ กลืนติด กลืนลำบาก กลืนเจ็บหรือจุกแน่นในลำคอ ไอและสำลักขณะรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำ สามารถตรวจวินิจฉัยผ่านภาพถ่ายรังสี (Videofluoroscopic swallowing study) และส่องกล้องประเมินการกลืน (Fiberoptic endoscopic evaluation of swallowing) พร้อมให้การบำบัดฟื้นฟูด้วยการออกกำลังกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการกลืน เช่น ลิ้น ลำคอ บริหารเส้นเสียง เป็นต้น หรือใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าแบบอ่อน (Vital Stim) ร่วมกับการฝึกจัดท่าทางในการกลืนที่เหมาะสมโดยแพทย์และนักกิจกรรมบำบัดเฉพาะทาง ซึ่งการฟื้นฟูนี้จะวางโปรแกรมเฉพาะรายผู้ป่วยหลังจากได้รับการตรวจประเมินแล้ว พร้อมด้วยนักโภชนาการที่จะช่วยปรับประเภทอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย ทีมทันตแพทย์เพื่อช่วยตรวจสุขภาพฟันและเหงือก เพื่อส่งเสริมให้การกลืนมีความปลอดภัยมากขึ้น โดยการฟื้นฟูนั้น ควรเข้ารับการฝึกอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง […]
3421299