บทความสุขภาพ Archives - Page 57 of 146 - โรงพยาบาลเวชธานี

บทความสุขภาพ

Result 505 - of

ศูนย์กระดูกและข้อ

ถ้ากระดูกหัก…ต้องใส่เฝือกนานแค่ไหน ?
กระดูกหักคือการที่กระดูกได้รับบาดเจ็บจนแตก หัก ไม่สามารถรับน้ำหนักหรือใช้งานตามปกติได้ มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุไม่ว่าจะเป็นอุบัติเหตุจากการขับขี่ ตกจากที่สูง รวมทั้งจากการเล่นกีฬา ส่วนมากจะพบผู้ป่วยกระดูกหักได้บ่อยบริเวณข้อมือและข้อเท้า

ศูนย์หัวใจ

เทคนิควัดความดันโลหิตที่บ้าน
การวัดความดันโลหิตที่บ้านจำเป็นต้องวัดให้ถูกต้องเพื่อให้ได้ค่าที่แม่นยำที่สุด โดยปฏิบัติดังนี้ งดดื่มชา กาแฟก่อนวัดความดันโลหิตอย่างน้อย 30 นาที

ศูนย์อายุรกรรม

เทียบให้ชัดข้อมูล Covid-19 Vaccine
ประสิทธิผลวัคซีน COVID – 19 แต่ละยี่ห้อไม่สามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้ เนื่องจากมีการศึกษาในกลุ่มประชากรที่แตกต่างกัน โดยวัคซีน COVID – 19 ทุกชนิดมีศักยภาพในการลดอาการเจ็บป่วยที่รุนแรง ลดการนอนโรงพยาบาล

ศูนย์ศัลยกรรมลำไส้ใหญ่และทวารหนัก

สัญญาณเตือนมะเร็งลำไส้ใหญ่ รู้ไว้ เพื่อสังเกตตัวเอง
มะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 3 ในผู้ชาย และพบมากเป็นอันดับ 4 ในผู้หญิง โดยพบว่า 30 – 40 เปอร์เซ็นต์ของผู้ป่วยเมื่อได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่

ศูนย์กระดูกและข้อ

ปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อสงสัยว่ากระดูกหัก
อาการกระดูกหักจากอุบัติเหตุต่าง ๆ หรือแม้แต่การเล่นกีฬาเป็นอาการบาดเจ็บที่พบได้บ่อย ซึ่งเมื่อเกิดการบาดเจ็บและสงสัยว่ามีกระดูกหักควรปฐมพยาบาลเบื้องต้นดังนี้ ไม่เคลื่อนย้ายผู้ป่วยในกรณีที่สงสัยว่ากระดูกหลัง

ศูนย์หัวใจ

ค่าความดันโลหิตเท่าไหร่? ที่เรียกว่าสูง
ค่าความดันโลหิตแบ่งออกเป็น 2 ค่า คือ ค่าความดันโลหิตตัวบน (Systolic Blood Pressure) คือค่าความดันโลหิตในหลอดเลือดที่เกิดขึ้นขณะที่หัวใจบีบตัว

ศูนย์กระดูกสันหลัง

กระดูกสันหลังคดรักษาไว ไม่ต้องผ่าตัด
พ่อแม่ต้องสังเกตโครงสร้างร่างกายลูกตั้งแต่วัยเด็ก หากเดินตัวเอียง ระดับหน้าอก สะโพกและหัวไหล่ทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน อาจเสี่ยงเป็นโรคกระดูกสันหลังคด แต่ถ้าหาหมอเร็วสามารถรักษาได้โดยไม่ต้องผ่าตัด   กระดูกสันหลังคดเป็นโรคที่พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ส่วนใหญ่มีภาวะกระดูกสันหลังคดตั้งแต่วัยเด็กและเห็นได้ชัดขึ้นหรือคดมากขึ้นเมื่ออยู่ในวัยเจริญเติบโต เนื่องจากร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง โดยการคดแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือการคดแบบตัวซี (C) และการคดแบบตัวเอส (S) ซึ่งการคดแบบตัวซีเป็นการคดหนึ่งตำแหน่ง จะทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดหลังเรื้อรังและอาจทำให้ไหล่กับสะโพกไม่เท่ากัน หากปล่อยไว้นาน ๆ หรือไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องอาจทำให้อาการรุนแรงขึ้นจนกระดูกคดเป็นลักษณะตัวเอสคือเป็นการคด 2 ตำแหน่ง เนื่องจากเมื่อความคดของกระดูกสันหลังในจุดหนึ่งมีมากจนร่างกายไม่สามารถมีสมดุลที่ดีได้ ร่างกายจะพยายามปรับสมดุลให้เกิดขึ้นใหม่โดยการงอกระดูกสันหลังส่วนที่เหลือไปอีกด้าน จึงทำให้กระดูกสันหลังคดเป็นลักษณะคล้ายตัวเอส ซึ่งอาจเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย นายแพทย์ภัทร โฆสานันท์ ศัลยแพทย์กระดูกและข้อเฉพาะทางด้านโรคกระดูกสันหลัง โรงพยาบาลเวชธานี เปิดเผยว่า นอกจากลักษณะของการคดแล้ว ยังมีการวัดมุมหรือความคดของแนวกระดูกสันหลังเป็นองศา หรือที่เรียกว่า Cobb angle โดยสามารถเห็นได้จากการเอกซเรย์ โดยโรคกระดูกสันหลังคดส่วนมากสังเกตได้ตั้งแต่วัยเด็กจนถึงช่วงวัยรุ่น เช่น ระดับของหัวไหล่ทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน ,กระดูกสะบักยุบนูนต่างกัน ,ระดับหน้าอกทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน ,ในเด็กผู้หญิงหน้าอกทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน ส่วนในเด็กผู้ชายอาจสังเกตได้จากระดับหัวนมไม่เท่ากัน ,สะโพกทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน […]

ศูนย์กระดูกและข้อ

“ยกแขนไม่ขึ้น” สัญญาณของข้อไหล่ติด
ข้อไหล่ติดเกิดจากช่องในข้อไหล่แคบลง เพราะเยื่อหุ้มและแคปซูลในข้อไหล่หนาตัวเป็นพังผืดและตึงขึ้นรอบ ๆ ทำให้ข้อไหล่ขยับได้น้อยลง สังเกตได้ด้วยการยกแขนขึ้นให้สุดโดยที่ใบหน้าและลำคอตั้งตรง

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

กินเท่าไหร่ถึงพอดี…ไม่อ้วน
หลายคนมักบ่นว่าแต่ละมื้อไม่ได้กินเยอะ ทำไมถึงอ้วน คุณอาจลืมไปว่าระหว่างวัน #มีมื้อเล็กมื้อน้อย #กินจุกจิกเรื่อยเปื่อย ทำให้ร่างกายได้รับแคลอรีเกินความจำเป็น
5131313