บทความสุขภาพ Archives - Page 83 of 145 - โรงพยาบาลเวชธานี

ศูนย์สุขภาพสตรี

วิธีง่ายๆ แก้ปัญหาปัสสาวะเล็ด
เมื่อผู้หญิงเริ่มเข้าสู่วัยทอง ปัญหาปัสสาวะเล็ด ถือว่าเป็นอีกหนึ่งความเครียดที่ต้องเผชิญซึ่งส่งผลต่อจิตใจด้วย เพราะความวิตกกังวลไม่กล้าทำกิจกรรมต่างๆ ก็ติดขัดไปเสียหมด ส่วนใหญ่

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

ต้นเหตุมะเร็งตับ
มะเร็งตับเกิดจากตับอักเสบเรื้อรัง เป็นเวลานาน จนกลายเป็นตับแข็งและมะเร็งตับตามลำดับ โดยปัจจัยเสี่ยงของการเกิดมะเร็งตับ ที่พบบ่อยในประเทศไทย มีดังนี้

ศูนย์หัวใจ

เจ็บหน้าอก แน่นหน้าอก สัญญาณของโรคหัวใจ
อาการเจ็บหน้าอก หรือแน่นหน้าอก หลายคนคงเคยเป็น ๆ หาย ๆ และมักบ่นกันเป็นประจำ แต่รู้หรือว่าอาจเป็นสัญญาณความผิดปกติของโรคต่างๆ เช่น โรคเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือด , โรคปอดบางชนิด และยังเป็นหนึ่งในอาการของภาวะอันตราย อย่าง

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

เช็กหน่อย อาการที่พบบ่อยจากออฟฟิศซินโดรม
ปวดกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตามตำแหน่งกล้ามเนื้อที่ใช้งานมาก: ปวดต้นคอ บ่า สะบัก บั้นเอว และสะโพก อาการปวดสามารถเป็นได้ตั้งแต่ปวดตื้อๆ พอรำคาญ ไปถึงการปวดรุนแรงรบกวนชีวิตประจำวันหรือการนอนได้ ในบางครั้งอาจะทำให้เข้าใจผิดคิดว่าเป็นอาการปวดศรีษะหรือปวดไมเกรนได้

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

4 ขั้นตอน “ใส่บอลลูนในกระเพาะอาหาร”
โรคอ้วน ถือว่าปัจจัยเสี่ยงต่อโรคต่างๆ โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และอีกมากมาย ส่งผลให้ในแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตว่า 2.8 ล้านคน ซึ่งคนอ้วนจำเป็นจะต้องลดน้ำหนักลงเพื่อไม่ให้เกิดโรคภัยกับตัวเอง

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

เหตุผลที่ต้องลดน้ำหนักด้วย บอลลูนในกระเพาะอาหาร
1.ช่วยลดน้ำหนัก โดยไม่ต้องผ่าตัดให้เจ็บตัว เพราะการใส่ บอลลูนในกระเพาะอาหาร เป็นการส่องกล้อง 2.ทำให้น้ำหนักลดโดยเฉลี่ย 24 กิโลกรัมต่อปี (อาจลดได้มากกว่า ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมของผู้ใส่บอลลูน)

ศูนย์กุมารเวชกรรม

ผื่นในลูกน้อย ปัญหากังวลใจของพ่อแม่
วันนี้จะมาคุยกันเรื่องผื่นในเด็กเล็ก โดยเฉพาะเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี ซึ่งเป็นปัญหาที่หมอเจอบ่อยๆเลยค่ะ

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

มะเร็งตับ โรคใกล้ตัวที่ไม่ควรมองข้าม
อาการปวดท้อง โรคทั่วไปที่หลาย ๆ คนเป็นกัน ซึ่งโดยปกติอาจเกิดจากอาหารไม่ย่อย ท้องอืด ฯลฯ แต่ในทางตรงกันข้าม อาจมีสาเหตุมาจากโรคร้ายแรงต่าง ๆ ได้ เช่น นิ่วในถุงน้ำดี หรือแม้กระทั่ง มะเร็งตับ

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ใช้มือไม่พัก ระวังนิ้วล็อก
อาการนิ้วล็อค ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่ใช้มือทำต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น การถือหรือแบกของหนักเป็นเวลานาน ใช้อุปกรณ์ที่ต้องออกแรงกดต่อเนื่อง หรือแม้กระทั่งการใช้โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์มากเกินไป
7471299