ปัจจุบันมีการพัฒนาเครื่อง Digital Breast Tomosynthesis (DBT) เป็นแบบ 3 มิติ ใช้เวลาถ่ายภาพเอกซเรย์เพียง 3.7 วินาทีต่อท่า สามารถแยกก้อนเนื้อในเต้านมที่แน่น (dense breast) ได้อย่างชัดเจน ลดการทับซ้อนของเนื้อและให้ภาพละเอียดมากขึ้น เป็นวิธีที่ดีกว่าเครื่องแมมโมแกรม 2 มิติในการค้นพบมะเร็งเต้านม
การทำอัลตราซาวดน์ช่วยในการวินิจฉัยโดยแสดงขนาดและขอบเขตของก้อนเนื้อหรือถุงน้ำ โดยทำได้ทันทีโดยไม่ต้องดมยาสลบ และสามารถเจาะชื้นเนื้อเพื่อวินิจฉัยเพิ่มเติมได้ทันที ด้วยขนาดแผลเล็ก ไม่ต้องนอนโรงพยาบาลและไม่ต้องรับยาสลบ
ศูนย์เต้านม ชั้น 3 โรงพยาบาลเวชธานี
โทร. 02-7340000 ต่อ 2715, 2716
คลำเจอก้อนเนื้อกลิ้งได้จะเป็นมะเร็งเต้านมไหม?